หูตึง คือ ภาวะของการได้ยินเสียงลดลง เมื่อเทียบกับผู้ที่มีการได้ยินปกติ หูหนวกคือภาวะเมื่อไม่สามารถเข้าใจเสียงพูดผ่านการได้ยินแม้ว่าจะใส่เครื่องช่วยฟังแล้ว อาการหูตึง หูหนวก เกิดได้จากหลายสาเหตุ แบ่งประเภทตามความความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับส่วนต่างๆ ของอวัยวะของหู
Read Moreบทความ
บทความ
ข้อดี และข้อเสียของ เครื่องช่วยฟัง ขนาดเล็ก
เครื่องช่วยฟัง ขนาดเล็ก และอยู่ในช่องหูข้อดีจึงทำให้ เครื่องช่วยฟัง ซ่อนตัวได้ ใส่เครื่องช่วยฟังสบายไร้สาย คุยมือถือได้ ไร้เสียงลม
Read Moreออกแบบการได้ยิน คือหัวใจของการได้ยินที่ดีไม่ได้อยู่เพียงเครื่องช่วยฟัง
การออกแบบการได้ยิน ผู้เชี่ยวชาญด้านเครื่องช่วยฟังจะเลือกคุณสมบัติเด่นของเครื่องช่วยฟังนั้นให้เหมาะสมกับระดับการได้ยินและรูปแบบการใช้ชีวิตผู้มีปัญหาการได้ยิน
Read Moreความบกพร่องทางการได้ยิน กับภาวะหกล้มใน ผู้สูงอายุ
ภาวะการหกล้มเป็นหนึ่งในปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ และเป็นความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดการบาดเจ็บที่รุนแรง ส่งผลกระทบต่อทั้งด้านร่างกาย และจิตใจของตัวผู้สูงอายุ
Read Moreฤดูฝน ดูแล เครื่องช่วยฟัง อย่างไรดี
ฤดูฝน ไม่ควรปล่อยให้ เครื่องช่วยฟัง สัมผัสน้ำ ความชื้น หรือเหงื่อเป็นเวลานานๆ เพราะอาจสร้างความเสียหายให้กับเครื่องช่วยฟังได้ เครื่องช่วยฟัง ควรดูแลอย่างดี
Read Moreฝังเข็ม รักษาหูตึง ดีมั๊ย?
หากคุณอยากทดลอง ฝังเข็ม รักษาหูตึง หรือปัญหาการได้ยิน คุณสามารถทำได้การฝังเข็มไม่ได้ทำให้ความบกพร่องทางการได้ยินของคุณเพิ่มมากขึ้น
Read Moreขี้หู คืออะไร สำคัญอย่างไร
ขี้หูคือสารตามธรรมชาติ ผลิตจากต่อมผลิตขี้หูที่อยู่ใต้ผิวหนังบริเวณช่องหู ขี้หูประกอบด้วยเอนไซม์ที่ป้องกันแบคทีเรียและเชื้อราไม่ให้เติบโตอยู่ภายในช่องหู
Read Moreเทคนิค การสนทนาทางโทรศัพท์ กับผู้บกพร่องทางการได้ยิน
ไม่ว่าคุณจะเป็นผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเอง หรือว่าพูดคุยโทรศัพท์กับผู้มีความบกพร่องทางการได้ยิน การพูดคุยกันทางโทรศัพท์มีความจำเป็นและสำคัญต่อการใช้ชีวิตประจำวัน
Read Moreช็อกโกแลต ลดความเสี่ยง บกพร่องทางการได้ยิน
อาหารเกือบจะทุกอย่างมีประโยชน์ต่อสุขภาพร่างกายของเรา ทุกคนรู้ว่านมดีต่อกระดูก และแครอทดีต่อสายตาแต่ใครจะรู้ว่าช็อกโกแลตดีสำหรับการได้ยิน
Read Moreผ่าตัด ประสาทหูเทียม คืนการได้ยินให้ลูก
การที่จะพิจารณาว่าผู้ป่วยลักษณะใดที่เหมาะกับการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม มีเกณฑ์คือ ต้องเป็นผู้ป่วยที่ประสาทหูพิการทั้งสองข้างในระดับตั้งแต่ 70 เดซิเบลขึ้นไป
Read More